อบต.นาสะไม ถนนตระการ-พนา หมู่ที่ 2 ตำบลนาสะไม อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 0-4542-9561 admin@nasamai-sao.go.th

head logoJD

× อบต.นาสะไม อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี ยินดีรับฟังความเห็นทุกข้อเสนอแนะ
(กรุณาใช้คำสุภาพในการแสดงความคิดเห็น)

ประวัติกีฬาแฮนด์บอล UFAGOOD เว็บพนันออนไลน์ เว็บชั้นนำของไทย

  • สยาม
  • รูปประจำตัวของ สยาม ผู้เขียนหัวข้อ
3 ปี 3 เดือน ที่ผ่านมา #12 โดย สยาม
สยาม สร้างหัวข้อกระทู้: ประวัติกีฬาแฮนด์บอล UFAGOOD เว็บพนันออนไลน์ เว็บชั้นนำของไทย
ประวัติกีฬาแฮนด์บอล UFAGOOD เว็บพนันออนไลน์ เว็บชั้นนำของไทย





ประวัติกีฬาแฮนด์บอล (Handball) เริ่มต้นมาจากประเทศเยอรมัน ในราวปลายศตวรรษที่ 19 โดยครูพลศึกษา ได้ริเริ่ม และแนะนำกีฬาประเภทนี้ ออกมาเผยแพร่ UFAGOOD จนกระทั่งปี พ.ศ. 2447 แฮนด์บอล จึงได้มีการพัฒนาอย่างกว้างขวางขึ้นในภาคพื้นยุโรป มีการกำหนดระเบียบ และกติกาการเล่น โดยอาศัยกติกาของฟุตบอลเป็นหลัก นักพลศึกษาชาวอเมริกากล่าวว่า กีฬาแฮนด์บอล น่าจะเป็นเกมกีฬาที่เก่าแก่ที่สุด เพราะมนุษย์นิยมใช้มือกับลูกบอลขว้างมาแต่โบราณแล้ว

กีฬาแฮนด์บอลในอดีต
ประเทศยุโรปในฤดูหนาว ไม่สามารถเล่น กีฬากลางแจ้งได้ จึงใช้ห้องพลศึกษาดัดแปลงเล่นกีฬาฟุตบอลด้วยมือ ตอนแรกใช้ผู้เล่น 11 คนเท่ากับฟุตบอล แต่ไม่สะดวก เพราะสถานที่คับแคบ จึงลดจำนวนผู้เล่นเหลือข้างละ 7 คน จึงกลายมาเป็น กีฬาแฮนด์บอล แบบการเล่นใน ปัจจุบัน ในช่วงนั้นแฮนด์บอล มิได้ถือว่าเป็นกีฬาอย่างหนึ่ง เพราะไม่มีหน่วยงานเป็นของตนเอง แต่คณะกรรมการที่ก่อตั้งและดำเนินการก็มาจากสหพันธ์กีฬาสมัครเล่นระหว่างชาติ I.A.A.F. คณะกรรมการชุดนี้เป็นคณะกรรมการที่มีหน้าที่จัดดำเนินการต่างๆ ในทวีปยุโรปสมัยนั้น

หลังจากปี พ.ศ. 2447 กีฬาแฮนด์บอล ซึ่งอยู่ในความดูแลของ I.A.A.F. ก็มีความมั่นคงขึ้น และหลายๆ ประเทศให้ความสนใจ และมีการจัดบรรจุในรายการกิจกรรมการกีฬาของประเทศนั้นๆ ด้วย ตลอดจนได้มี การแข่งขัน ทั้งภายในและภายนอกประเทศมากขึ้น
ในปี พ.ศ. 2469 I.A.A.F. ได้ตั้งคณะกรรมการ กีฬาแฮนด์บอล ขึ้นโดยเฉพาะ โดยมีคณะกรรมการที่มาจากประเทศต่างๆ ในเครือสมาชิกของกีฬาประเภทนี้มีการประชุมตกลงเรื่องกติกา ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ กีฬาแฮนด์บอล ได้ตั้งเป็นกีฬาประเภทหนึ่งโดยเอกเทศ และมีการริเริ่มตั้งสหพันธ์ แฮนด์บอล ขึ้นในปี พ.ศ. 2471 ประเทศกลุ่มสมาชิก 11 ประเทศ ได้เข้าร่วมประชุมในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่เมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศฮอลแลนด์

ในปี พ.ศ. 2471 กีฬาแฮนด์บอล ก็ได้มีการสาธิตขึ้นในมหกรรมกีฬาโอลิมปิก ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 แฮนด์บอล ก็ได้บรรจุเข้าเป็นรายการแข่งขันกีฬาระหว่างชาติ โดยการยอมรับของ I.O.C. หลังจากการประชุมที่กรุงอัมสเตอร์ดัม สมาชิกทั้งหมด 11 ประเทศ ก็ได้เพิ่มเป็น 25 ประเทศในปี พ.ศ. 2477 ซึ่งเป็นจุดที่ชี้ให้เห็นว่า กีฬาแฮนด์บอล ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ในปี พ.ศ. 2479 ก็ได้บรรจุเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมัน
สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สร้างปัญหาต่างๆ ให้กับการกีฬาเป็นอย่างมากแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการประชุมร่วมกันอีกครั้งหนึ่งที่โคเปนเฮเกน เพื่อที่จะฟื้นฟู กีฬาแฮนด์บอล ขึ้นมาใหม่ แต่ก็ล้มเหลว จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2499 จึงได้มีการ แก้ไข กติกา แฮนด์บอล ขึ้นใหม่ และยอมรับ ทักษะการเล่นสมัยก่อน ซึ่งทำให้ลักษณะของการเล่นและกติกาเปลี่ยนแปลงไป โดยอาศัยกติกาของ ฟุตบอลและบาสเกตบอล มาผสมกัน

สมัยก่อนนิยมการเล่นแบบ 11 คน เช่นเดียวกับฟุตบอล แต่ในยุโรปตอนเหนือได้มีการเล่นแบบ 7 คน และเล่นกันในร่ม ตอนแรกๆ ก็ไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนัก แต่ต่อมาการเล่นแฮนด์บอลแบบ 7 คน ก็เป็นที่นิยมแพร่หลายในยุโรป ทำให้การเล่นแบบ 11 คนได้หายไป ซึ่งในปัจจุบันทั่วโลกก็ยอมรับการเล่นแบบ 7 คน และจากผลของการวิจัยต่างๆ ปรากฏว่า แฮนด์บอล เป็นกีฬาที่มีความเร็ว เป็นอันดับสองของโลกรองลงมาจากกีฬาฮอกกี้น้ำแข็ง เหตุที่ แฮนด์บอล 7 คนนิยมเล่นในร่มก็อาจเป็นเพราะเนื้อที่สนามน้อย สามารถเล่นในที่แคบๆ ได้ และอีกอย่างก็คือสภาพของดินฟ้าอากาศในฤดูหนาวของทวีปยุโรปนั้นจะปกคลุมไปด้วยหิมะและน้ำแข็ง ดังนั้น แฮนด์บอล จึงไม่สามารถเล่นในสนามกลางแจ้งได้ ด้วยเหตุผลนี้ แฮนด์บอล จึงเป็นที่นิยมเล่นกันในร่มหรือโรงยิมเนเซียมแทน
จากที่กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า กีฬาแฮนด์บอล เป็นกีฬาของโลก อย่างหนึ่งเพราะการแข่งขันกีฬาสำคัญระหว่างชาติก็มีการแข่ง แฮนด์บอล ด้วย เช่น กีฬาเอเชียนเกมส์ ที่ประเทศอินเดีย เมื่อปี พ.ศ. 2525 ก็ได้มีการแข่งขันแฮนด์บอล หลังจากที่บรรจุไว้ในกีฬาโอลิมปิก เมื่อปี พ.ศ. 2479 แล้ว และในปี พ.ศ. 2516 ได้บรรจุในโปรแกรมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่นครมิวนิค ประเทศเยอรมันตะวันตกด้วย

ประวัติกีฬาแฮนด์บอล UFAGOOD เว็บพนันออนไลน์ เว็บชั้นนำของไทย


กีฬาแฮนด์บอล ได้นำเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2482 โดย อาจารย์กอง วิสุทธารมย์ อดีตอธิบดีกรมพลศึกษา ในสมัยนั้น แฮนด์บอล ยังนิยมการเล่นแบบ 11 คนอยู่ แต่ คนไทย เราไม่ค่อยจะนิยมเล่นกีฬาประเภทนี้กันเลยยกไป ซึ่งอาจเป็นเพราะประเทศไทยสามารถเล่นฟุตบอลได้ตลอดฤดูกาล กีฬาแฮนด์บอล จึงไม่เป็นที่นิยมเล่นดังกล่าว

ต่อมาในปี พ.ศ.2500 อาจารย์ชนิต คงมนต์ ได้ไปดูงานด้านพลศึกษาในประเทศเดนมาร์ก และสวีเดน ได้นำ กีฬาแฮนด์บอล นี้มาเผยแพร่อีกครั้งหนึ่ง โดยเริ่มบรรจุเข้าสอนในโรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย และวิทยาลัยพลศึกษาก่อนที่อื่นเพื่อเป็นการทดลอง และต่อมาก็ได้เผยแพร่ไปตามโรงเรียนต่างๆ บ้าง แต่ก็ยังไม่กว้างขวางนัก

ปัจจุบันวิทยาลัยพลศึกษาทั่วประเทศได้บรรจุวิชาแฮนด์บอล ไว้ในหลักสูตร ตลอดจนหลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2518 ได้กำหนดเป็นวิชาบังคับ จึงนับได้ว่า กีฬาแฮนด์บอล เป็นที่รู้จักและนิยมกันอย่างกว้างขวางในหมู่นักเรียนวิทยาลัยพลศึกษา และประชาชนคนไทยมากยิ่งขึ้น
แฮนด์บอล ได้บรรจุเข้าแข่งขันในกีฬาของวิทยาลัยพลศึกษาทั่วประเทศ ที่กรมพลศึกษาเป็นเจ้าภาพ เมื่อ พ.ศ. 2524 โดยการใช้กติกาการแข่งขันสากลฝ่ายละ 7 คน ปัจจุบัน นายปรีดา รอดโพธิ์ทอง อธิบดีกรมพลศึกษา ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า กีฬาแฮนด์บอล เป็นกีฬาที่มีความเหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ และสภาพของคนไทย จึงได้ส่งเสริมและให้มีการฟื้นฟูกีฬาประเภทนี้ขึ้นอีกครั้งหนึ่ง โดยให้กองกีฬากรมพลศึกษาเป็นผู้ดำเนินการ ซึ่งจัดให้มีการอบรมผู้ฝึกสอน อบรมผู้ตัดสิน และให้มีการจัดการแข่งขันกีฬาแฮนด์บอลในกีฬากรมพลศึกษาเป็นประจำทุกปี

วิธีการเล่น
ใช้มือจับ ขว้าง โยน ลูกบอล ส่งต่อกันกับผู้เล่นในทีมตนเอง เพื่อขว้างบอลเข้าประตูฝ่ายตรงข้าม
ห้ามใช้ร่างกายส่วนที่ต่ำกว่าหัวเข่าลงไปโดนลูกบอล
ผู้เล่นสามารถถือลูกบอลไว้ในมือได้ไม่เกิน 3 วินาที
ขณะถือลูกบอลสามารถก้าวขาได้ไม่เกิน 3 ก้าว
ห้ามผู้เล่นดึงลูกบอลจากมือของฝ่ายตรงข้าม
ห้ามเข้าไปในเขตประตูของฝ่ายตรงข้าม
เวลาในการแข่งขันครึ่งละ 30 นาที พัก 10 นาที หากมีการต่อเวลาพิเศษจะเพิ่ม 2 ครึ่ง ครึ่งละ 5 นาที

ดูตัวอย่างเพิ่มเติม กฎกติกาการเล่น คลิก!! www.ufagood.com/?p=1128
@929qvxrt
เวลาที่ใช้ในการสร้างหน้าเว็บ: 0.135 วินาที

ข่าวสารล่าสุด

facebook อบต.

ติดต่อเรา

logo small
หมู่ที่ 2
ถนนตระการ - พนา
ตำบลนาสะไม อำเภอตระการพืชผล
จังหวัดอุบลราชธานี 34130
โทร. 0-4542-9561
email : saraban@nasamai-sao.go.th
email : admin@nasamai-sao.go.th

http://www.nasamai-sao.go.th
Facebook :

https://www.facebook.com/nasamaiubon/